การ ทดลอง ของ ธ อ ร์ น ได ค์

Successfully reported this slideshow. ทฤษฎ๊สัมพันธ์เชื่อมโยง More Related Content 1. ทฤษฎีการเรียนรู้ของธอร์นไดค์ (Thorndike) 2. ประวัติ • เอ็ดเวิร์ด ลี ธอร์นไดค์( EDWARD LEE THORNDIKE) เป็นนักจิตวิทยาชาวอเมริกัน เกิดวันที่ 13 สิงหาคม ค. ศ. 1814 ที่เมื่องวิลเลี่ยมเบอรี่ ( williambury) รัฐแมซซาชูเสท ( MASSACHUSATTS) และเสียชีวิตวันที่ 9 สิงหาคม ค. 1949 รัฐนิวยอร์ค 3. ทฤษฎีการเรียนรู้ของธอร์นไดค์ (Thorndike)...... • ธอร์นไดค์(Edward L Thorndike) เป็นนักจิตวิทยา และนักการศึกษาชาวอเมริกัน เป็นเจ้าของทฤษฎีการเรียนรู้ที่เน้น ความสัมพันธ์เชื่อมโยงระหว่างสิ่งเร้า (S) กับการตอบสนอง (R) เขาเชื่อว่าการเรียนรู้เกิดขึ้นได้ต้องสร้างสิ่งเชื่อมโยงหรือ พันธะเชื่อมโยง(Bond) ระหว่างสิ่งเร้ากับการตอบสนอง จึง เรียกทฤษฎีนี้ว่า ทฤษฎีพันธะระหว่างสิ่งเร้ากับการตอบสนอง (Connectionism Theory) หรือ ทฤษฎีสัมพันธ์ เชื่อมโยง 4. • ธอร์นไดค์เชื่อว่า การเรียนรู้เบื้องต้นของสิ่งมีชีวิต ไม่ว่ามนุษย์ หรือสัตว์จะใช้วิธีการเรียนรุ้แบบลองผิดลองถูก 5. การทดลอง 6. โดยสรุปแมวจะแสดงพฤติกรรมดังนี้ R1 แมววิ่งรอบกรงไม้ R2 แมวส่งเสียงร้อง • • แมวอยู่ในกรง s1 R3 แมวตระกรุยข้างกรง R4 แมวผลักประตู • R5 แมวเหยียบคานไม้ แล้วเปิดประตู S คือ ความสัมพันธ์เชื่อมโยงระหว่างสิ่งเรา R คือ การตอบสนอง 7.

ทฤษฎีการเรียนรู้ของธอร์นไดค์

1. ข 6. ง 2. ง 7. ข 3. ก 8. ก 4. ข 9. ข 5. ก 10. ก

สมาชิกในกลุ่ม 1. นางสาว อาพีซา ผดุงผล รหัส 405710011 2. นางสาว นูรอัยนี แวหะยี รหัส 405710012 3. นางสาว ซาพานี บาและ รหัส 405710013 4. นางสาว นัสรีนย์ มะยี รหัส 405710014 5. นางสาว ฟาตียะห์ แบเลาะ รหัส 405710015 6. นางสาว นูรไลลา เจะบู รหัส 405710026 11. จบการนาเสนอ ขอบคุณค่ะ

หมดหนี้

จากการทดลอง • ได้สรุปกฎการเรียนรู้สาคัญ 3 กฎดังนี้ 1. กฎแห่งความพร้อม (Law of Readiness) สภาพความพร้อมหรือวุฒิภาวะของผู้เรียนทั้งทางร่างกาย อวัยวะต่างๆ ในการเรียนรู้และจิตใจ รวมทั้งพื้นฐานและ ประสบการณ์เดิมถ้าผู้เรียนมีความพร้อมตามองค์ประกอบ ต่างๆ ดังกล่าว ก็จะทาให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ได้ 8. 2. กฎแห่งการฝึกหัด(Law o f Exercise) หมายถึงการที่ผู้เรียนได้ฝึกหัดหรือกระทาซ้าๆบ่อยๆ ย่อมจะทาให้เกิดความสมบูรณ์ถูกต้อง 3. กฎแห่งผลที่พึ่งพอใจ(Law of Effect) เมื่อบุคคลได้รับผลทีพึ่งพอใจย่อมอยากจะเรียนรู้ต่อไป แต่ ถ้าได้รับผลไม่พึ่งพอใจ จะไม่อยากเรียน ดังนั้นการได้รับผลที่พึ่ง พอใจ จึ่งเป็นปัจจัยสาคัญในการเรียนรู้ 9. การประยุกต์ใช้ในชั้นเรียน • 1. ส่งเสริมให้ผู้เรียน เรียนรู้โดยการลองผิดลองถูก • 2. สร้างความพร้อมทางการเรียนให้แก่ผู้เรียน • 3. หากต้องการให้ผู้เรียนเกิดทักษะในเรื่องใดแล้ว ต้องให้ ผู้เรียนมีความรู้และความเข้าใจในเรื่องนั้นๆ • 4. เมื่อผู้เรียนเกิดการเรียนรู้แล้ว ควรให้ผู้เรียนฝึกการนาการ เรียนรู้นั้นไปใช้ • 5. การให้ผู้เรียนได้รับผลที่น่าพึ่งพอใจ จะช่วยให้การเรียนการ สอนประสบความสาเร็จ 10.

Successfully reported this slideshow. ทฤษฎีสัมพันธ์เชื่อมโยงของธอร์นไดค์ 1. 2. แนวคิด ธอร์นไดค์ (Thorndike) ได้กล่าวว่าการเรียนรู้คือการที่ ผู้เรียนสามารถสร้างความสัมพันธ์เชื่อมโยง(Bond)ระหว่างสิ่งเร้า และการ และการตอบสนอง และได้รับความพึงพอใจจะทาให้เกิดการเรียนรู้ขึ้น ขึ้น 3. การทดลอง ธอร์นไดค์ได้นาแมวไปขังไว้ในกรงที่สร้าง สร้างขึ้น แล้วนาปลาไปวางล่อไว้นอกกรงให้ กรงให้ห่างพอประมาณ โดยแมวไม่สามารถยื่น สามารถยื่นเท้าไปเขี่ยได้ จากการสังเกต พบว่าแมวพยายามใช้วิธีการต่าง ๆ เพื่อจะ จะออกไปจากกรงจนกระทั่งเท้าของมันไป ไปเหยียบถูกคานไม้โดยบังเอิญ ทาให้ประตู ประตูเปิดออก หลังจาก นั้นแมวก็ใช้เวลาใน เวลาในการเปิดกรงได้เร็วขึ้น 4. (R1) ขีดข่วนพื้น สถานการณ์ในกรงไม้หรือปัญหา (s) (R2) ส่งเสียงฟ่ อๆและทาตัว โก่ง (R3) วิ่งไปรอบๆ (R4) ผลักฝาผนังและประตู (R5) กดคานไม้เปิดประตูได้ การเรียนรู้แบบลองผิดลองถูกของธอร์นไดค์ 5. กฎแห่งความพร้อม ธอร์นไดด์ ได้เห็นกฎการเรียนรู้ที่สาคัญ 3 กฎด้วยกัน กฎแห่งการฝึกหัด กฎแห่งความพอใจ กฎแห่งการได้ใช้ กฎแห่งการไม่ได้ใช้ 6. การประยุกต์ใช้ในด้านการเรียนการสอน • การเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้ลองผิดลองถูกด้วยตนเอง • การสารวจความพร้อมหรือการสร้างความพร้อมทางการเรียนให้แก่ผู้เรียน เป็นสิ่งจาเป็นที่ต้องดาเนินการก่อนการเรียนเสมอ • หากต้องการให้ผู้เรียนเกิดทักษะในเรื่องใด ต้องให้ผู้เรียนมีความรู้และความ เข้าใจในเรื่องนั้น ๆ อย่างถ่องแท้ • เมื่อผู้เรียนเกิดการเรียนรู้แล้ว ควรให้ผู้เรียนฝึกนาการเรียนรู้นั้นไปใช้ • การให้ผู้เรียนได้รับผลที่น่าพึงพอใจ จะช่วยให้การเรียนการสอน ประสบ ความสาเร็จ 7.

ธอร์นไดค์

การ ทดลอง ของ ธ อ ร์ น ได ค์ หมดหนี้ การ ทดลอง ของ ธ อ ร์ น ได ค์ ไร เด อ

ถ่ายทอดสด f1

การ ทดลอง ของ ธ อ ร์ น ได ค์ ว รัน ธร

มือสอง

  1. ป้าย กล่อง ข้อความ คอร์ด
  2. คำคุณศัพท์แสดงความเป็นเจ้าของ Possessive adjective [การใช้ my his their Its] | ShortEng ภาษาอังกฤษอยู่รอบตัวเรา
  3. การหารเลขฐาน 2 - Pratya303
  4. Tiger 200cc. แนะนำข้อดีข้อเสีย ควรดูก่อนซื้อรถ #รูปtigerสวยๆหล่อๆ - YouTube
  5. การ ทดลอง ของ ธ อ ร์ น ได ค์ หมดหนี้
  6. ทฤษฎีการเรียนรู้ – เป็นเว็บเกี่ยวกับการนำทฤษฎีการเรียนรู้มาประยุกต์ใช้
  7. Nike premier 2.0 รีวิว women
  8. ทฤษฎีความสัมพันธ์เชื่อมโยง (Connectionism) คือ การเรียนรู้แบบเชื่อมโยง
  9. ธอร์นไดค์

มีสถานการณ์ที่เป็นปัญหาเป็นสิ่งเร้าให้อินทรีย์แสดงการตอบสนองหรือแสดงพฤติกรรมออกมา 2. อินทรีย์จะแสดงอาการตอบสนองหลาย ๆ อย่าง เพื่อแก้ปัญหาที่เกิดขึ้น 3. ปฏิกิริยาตอบสนองที่ไม่ทำให้เกิดความพอใจจะถูกตัดทิ้งไป 4. เมื่อปฏิกิริยาตอบสนองที่ไม่ทำให้เกิดความพอใจถูกตัดทิ้งไป จนเหลือปฏิกิริยาที่ทำให้เกิดความพอใจ อินทรีย์จะถือเอา กิริยาตอบสนอง ที่ถูกต้องและจะแสดงตอบสนองต่อสิ่งเร้า ( Interaction) นั้นมากระทบอีก ซึ่งมีหลักการพอสรุปได้ คือ 1. 1 กฎการเรียนรู้ จากการทดลองเกี่ยวกับการเรียนรู้แบบลองผิดลองถูก ธอร์นไดน์ ได้เสนอกฎการเรียนรู้ที่สำคัญ 3 กฎ คือ 1. 1. 1 กฎแห่งความพร้อม ( Law of Readiness) เป็นกฎที่กล่าวถึงสภาพการณ์ 3 สภาพการณ์ คือ - การกระทำที่เกิดขึ้นจากความพร้อมของร่างกาย ถ้าได้กระทำย่อมจะก่อให้เกิดความพอใจ เมื่อร่างกายเกิดความพร้อมที่จะกระทำสิ่งใดถ้าไม่ได้กระทำย่อมก่อให้เกิดความไม่พึงพอใจหรือความรำคาญใจ - เมื่อร่างกายไม่พร้อมที่จะกระทำสิ่งใดแล้ว ถ้าถูกบังคับให้กระทำย่อมจะก่อให้เกิดความไม่พึงพอใจหรือรำคาญใจ 1. 2 กฎแห่งการฝึกหัด ( Law of Exercise) การสร้างความเชื่อมโยงระหว่างสิ่งเร้ากับการตอบสนองด้วยการฝึกจะทำให้เกิดความแน่นแฟ้นและมั่นคง แต่ถ้าการฝึกหัดปฏิบัติไม่ต่อเนื่องกัน หรือการไม่ได้นำไปใช้จะทำให้เกิดการลืมได้ ความหมายของกฎแห่งการฝึกอาจสรุปได้ดังนี้ ก.

กฎแห่งผลที่พึงพอใจ ( law of effect) พันธะหรือตัวเชื่อมระหว่างสิ่งเร้าและการตอบสนองจะเข้มแข็งหรืออ่อนกำลัง ย่อมขึ้นอยู่กับผลต่อเนื่องหลังจากที่ได้ตอบสนองไปแล้ว ดังนั้น การได้รับผลที่พึงพอใจ จึงเป็นปัจจัยสำคัญในการเรียนรู้ 2. กฎแห่งการฝึกหัด ( low of exercise) การฝึกหัดหรือกระทำบ่อยๆ ด้วยความเข้าใจจะทำให้การเรียนรู้นั้นคงถาวร ถ้าไม่ได้กระทำซ้ำบ่อยๆ การเรียนรู้นั้นจะไม่คงถาวร และในที่สุดอาจจะลืมได้ กฎแห่งการฝึกหัด แบ่งเป็น 2 กฎย่อย คือ - กฎแห่งการได้ใช้ ( Law of Use) - กฎแห่งการไม่ได้ใช้ ( Law of Disuse) 3.

June 23, 2022, 6:46 pm